

รั้วตาข่ายถักปม
อายุการใช้งาน 80 ปี* ทนสนิมกว่า 4 เท่า
ผลิตจากลวดชุบซิงค์อลูมิเนียม (ZnAl) ที่ผสมอลูมิเนียม 10% ทนสนิมได้ดีกว่ารั้วตาข่ายทั่วไปถึง 4 เท่า และมีอายุการใช้งานยาวนานถึง 80 ปี* ผ่านการทดสอบ Salt Spray Test ตามมาตรฐาน ASTM ซึ่งทนการกัดกร่อนจากละอองเกลือได้นาน 600-1400 ชั่วโมง
ด้วยลวดหนา 2.5 มม. ที่ทนทานต่อแรงกระแทก 750-900 นิวตัน/ตร.มม. และการออกแบบถักปมแน่น 4-5 เกลียว ช่วยให้รั้วมีความยืดหยุ่น คืนตัวได้ดี ไม่หย่อนหรือขาดง่าย อีกทั้งยังเสริมความทนทานด้วยเส้นลวดบนและล่างเคลือบสีดำ เพื่อป้องกันความชื้นจากพื้นดินและเพิ่มความชัดเจนของแนวรั้ว
รั้วตาข่ายถักปมไวน์แมนสามารถติดตั้งได้ง่าย ใช้กับเสาทุกประเภทในระยะห่าง 4-8 เมตร เหมาะสำหรับการล้อมบ้าน สวน ที่ดิน หรือสัตว์ และยังรองรับการติดตั้งในพื้นที่ลาดชันได้อย่างดีเยี่ยม ด้วยความสวยงามและประสิทธิภาพที่ตอบโจทย์ทุกการใช้งาน!
*ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและการใช้งาน

คุณสมบัติพิเศษของ รั้วตาข่ายถักปม ไวน์แมน

*ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและการใช้งาน
ข้อดีของรั้วตาข่ายถักปมไวน์แมน
คุณภาพเหนือกว่า ลวดซิงค์อลูมิเนียม มาตรฐาน ASTM
ผลิตจากลวดชุบซิงค์อลูมิเนียม (ผสมอลูมิเนียม 10%) ตามมาตรฐาน ASTM สหรัฐอเมริกา ทนสนิมกว่ารั้วทั่วไปถึง 4 เท่า ผ่านการทดสอบ Salt Spray Test ใช้งานยาวนานถึง 80 ปี*
ใช้ลวดแรงดึงสูง (High Tensile) หนา 2.5 มม. แข็งแรง รับแรงกระแทกได้ 700-900 นิวตัน/ตร.มม. รองรับน้ำหนักเฉลี่ย 400 กก. ขึงตึงไม่หย่อน ไม่ขาดง่าย
ปมถักแน่น 4-5 เกลียว เสริมความแข็งแรง ปมไม่หลุดง่าย รอยหยักขึ้น-ลงตลอดแนว เพิ่มความยืดหยุ่นและทนต่อแรงกระแทก
เส้นลวดบนสุดและล่างสุดเคลือบสีดำ ป้องกันความชื้นจากพื้นดิน และเพิ่มอายุการใช้งาน
ออกแบบให้ช่องล่างถี่ ด้านบนห่าง ใช้ได้ทั้งสัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่
ติดตั้งได้กับเสาทุกประเภท เช่น เสาไม้ เสาปูน เสาเหล็ก หรือเสา Y Post ระยะห่าง 4-8 เมตร ติดตั้งสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา
เหมาะสำหรับล้อมบ้าน ล้อมสวน ล้อมที่ดิน และล้อมสัตว์ ด้วยดีไซน์โปร่ง โล่ง ไม่บดบังทัศนียภาพ
คุณภาพเหนือกว่า ลวดซิงค์อลูมิเนียม มาตรฐาน ASTM
ผลิตจากลวดชุบซิงค์อลูมิเนียม (ผสมอลูมิเนียม 10%) ตามมาตรฐาน ASTM สหรัฐอเมริกา ทนสนิมกว่ารั้วทั่วไปถึง 4 เท่า ผ่านการทดสอบ Salt Spray Test ใช้งานยาวนานถึง 80 ปี*
ใช้ลวดแรงดึงสูง (High Tensile) หนา 2.5 มม. แข็งแรง รับแรงกระแทกได้ 700-900 นิวตัน/ตร.มม. รองรับน้ำหนักเฉลี่ย 400 กก. ขึงตึงไม่หย่อน ไม่ขาดง่าย
ปมถักแน่น 4-5 เกลียว เสริมความแข็งแรง ปมไม่หลุดง่าย รอยหยักขึ้น-ลงตลอดแนว เพิ่มความยืดหยุ่นและทนต่อแรงกระแทก
เส้นลวดบนสุดและล่างสุดเคลือบสีดำ ป้องกันความชื้นจากพื้นดิน และเพิ่มอายุการใช้งาน
ออกแบบให้ช่องล่างถี่ ด้านบนห่าง ใช้ได้ทั้งสัตว์เล็กและสัตว์ใหญ่
ติดตั้งได้กับเสาทุกประเภท เช่น เสาไม้ เสาปูน เสาเหล็ก หรือเสา Y Post ระยะห่าง 4-8 เมตร ติดตั้งสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา
เหมาะสำหรับล้อมบ้าน ล้อมสวน ล้อมที่ดิน และล้อมสัตว์ ด้วยดีไซน์โปร่ง โล่ง ไม่บดบังทัศนียภาพ
รั้วตาข่ายถักปม ไวน์แมน (Hinge Joint) รุ่นต่าง ๆ

"รุ่นประหยัด"
ความสูง 90 ซม. (รุ่นประหยัด)

"รุ่นถี่ถึงใจ"
ความสูง 107 ซม. (รุ่นถี่ถึงใจ)

"รุ่นยอดนิยม"
ความสูง 142 ซม. (รุ่นยอดนิยม)

"รุ่นใหม่"
ความสูง 175 ซม. (รุ่นใหม่)

"รุ่นใหญ่"
ความสูง 200 ซม.
ช่องทางการสั่งซื้อ
โทรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม >>
วิธีการติดตั้งลวดหนาม

1. ตั้งเสาให้แข็งแรง
ขั้นตอนแรกของการล้อมรั้วคือ การตั้งเสา เสาที่ใช้กับลวดหนาม สามารถใช้ได้กับเสา ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นเสาไม้ เสาปูน เสาเหล็กก็สามารถใช้กับลวดหนามได้ทั้งหมด การติดตั้งเสา ควรติดตั้งเสาให้แข็งแรง ต้นแรก หรือ ต้นสุดท้ายควรมีการทำค้ำยัน หรืออาจจะทำทุกระยะ 30-50 เมตร เพื่อป้องกันการล้มของเสา ส่วนรากฐาน ควรขุดหลุมเทปูน ให้เรียบร้อย ป้องกัน การโยกของเสาแต่ละต้น ส่วนระยะห่างของ ลวดหนามทั่วไปอยู่ที่ 2-2.5 เมตร/ต้น แต่ถ้าหากเป็นลวดหนามซิงค์อลูไวน์แมน ระยะเสารั้วสามารถห่างได้ถึง 4-5 เมตร/ต้น2. ดึงลวดหนามให้ตึง
หลังจากที่เราได้ตั้งเสาเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การติดตั้งลวดหนามกับเสาที่ได้จัดเตรียมไว้ โดยปกติการติดตั้งลวดหนาม จะดึงทีละต้น โดยใช้ชะแลง เป็นตัวช่วยดึงลวดหนามให้ดึง หากไม่ดึงให้ตึงแล้ว อนาคตอาจจะทำให้ ลวดหนามหย่อนยานและหลุดได้3. ยึดลวดหนามติดกับเสา
วิธีการยึดลวดหนามกับเสามีหลายวิธี เช่น ใช้ตะปูตอกพับ ระหว่างเสากับลวดหนาม ใช้กิ๊บลวดหนาม ล็อคระหว่าง เสากับลวดหนาม โดยปกติเสาจะมีรูให้สำหรับ ใส่ตัวกิ๊บล็อค ลวดหนามอยู่แล้ว ทำให้สามารถตอกกิ๊บลงไปในรู ส่วนอีกฝั่งทำการตีล็อคป้องกันการหลุดได้ หรือจะเป็นการใช้ลวดผูกระหว่าง เสากับตาข่าย โดยวิธีนี้ถือว่าทนและแข็งแรง ไม่มีหลุด สามารถใช้ลวดทั่วไปผูกได้ คำเตือน ควรสวมอุปกรณ์ป้องกัน ก่อนการติดตั้งทุกครั้ง เช่น ถุงมือ เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ทุกครั้งเนื่องจากลวดหนามมีลักษณะคม อาจทำให้เกิดบาดแผลได้
1. ตั้งเสาให้แข็งแรง
ขั้นตอนแรกของการล้อมรั้วคือ การตั้งเสา เสาที่ใช้กับลวดหนาม สามารถใช้ได้กับเสา ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นเสาไม้ เสาปูน เสาเหล็กก็สามารถใช้กับลวดหนามได้ทั้งหมด การติดตั้งเสา ควรติดตั้งเสาให้แข็งแรง ต้นแรก หรือ ต้นสุดท้ายควรมีการทำค้ำยัน หรืออาจจะทำทุกระยะ 30-50 เมตร เพื่อป้องกันการล้มของเสา ส่วนรากฐาน ควรขุดหลุมเทปูน ให้เรียบร้อย ป้องกัน การโยกของเสาแต่ละต้น ส่วนระยะห่างของ ลวดหนามทั่วไปอยู่ที่ 2-2.5 เมตร/ต้น แต่ถ้าหากเป็นลวดหนามซิงค์อลูไวน์แมน ระยะเสารั้วสามารถห่างได้ถึง 4-5 เมตร/ต้น2. ดึงลวดหนามให้ตึง
หลังจากที่เราได้ตั้งเสาเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การติดตั้งลวดหนามกับเสาที่ได้จัดเตรียมไว้ โดยปกติการติดตั้งลวดหนาม จะดึงทีละต้น โดยใช้ชะแลง เป็นตัวช่วยดึงลวดหนามให้ดึง หากไม่ดึงให้ตึงแล้ว อนาคตอาจจะทำให้ ลวดหนามหย่อนยานและหลุดได้3. ยึดลวดหนามติดกับเสา
วิธีการยึดลวดหนามกับเสามีหลายวิธี เช่น ใช้ตะปูตอกพับ ระหว่างเสากับลวดหนาม ใช้กิ๊บลวดหนาม ล็อคระหว่าง เสากับลวดหนาม โดยปกติเสาจะมีรูให้สำหรับ ใส่ตัวกิ๊บล็อค ลวดหนามอยู่แล้ว ทำให้สามารถตอกกิ๊บลงไปในรู ส่วนอีกฝั่งทำการตีล็อคป้องกันการหลุดได้ หรือจะเป็นการใช้ลวดผูกระหว่าง เสากับตาข่าย โดยวิธีนี้ถือว่าทนและแข็งแรง ไม่มีหลุด สามารถใช้ลวดทั่วไปผูกได้ คำเตือน ควรสวมอุปกรณ์ป้องกัน ก่อนการติดตั้งทุกครั้ง เช่น ถุงมือ เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ทุกครั้งเนื่องจากลวดหนามมีลักษณะคม อาจทำให้เกิดบาดแผลได้
ตัวอย่างการใช้งาน


ผลการทดสอบความทนทานต่อสภาวะการกัดกร่อนของละอองเกลือ (Salt Spray Test)
- ชุบซิงค์ปกติ
- ชุบซิงค์อลูมิเนียม (ส่วนผสมอลูมิเนียม 5 %)
- ลวดหนามซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน (ส่วนผสมอลูมิเนียม 10 %)

จากปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ทดสอบ ได้กำหนดพื้นที่ระดับการสึกกร่อน ตั้งแต่ C1 ถึง C4 (ตามมาตรฐาน EN ISO 9223) ทั้งนี้เพื่อนำผลที่ได้รับนำมาคำนวณหาค่าน้ำหนักของสารเคลือบโลหะ ที่สึกกร่อนหายไป ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ สามารถนำไปประเมินถึงอายุการใช้งานได้ในลำดับต่อไป (ตามมาตรฐาน EN ISO 9224:1992)


*อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัย เช่น ลักษณะสภาพอากาศ และประเภทของการใช้งาน ตลอดจนคุณภาพของสารที่ใช้เคลือบ
จึงทำได้เพียงประเมินอายุการใช้งานได้เท่านั้น
- ชุบซิงค์ปกติ
- ชุบซิงค์อลูมิเนียม (ส่วนผสมอลูมิเนียม 5 %)
- ลวดหนามซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน (ส่วนผสมอลูมิเนียม 10 %)


กดที่รูปเพื่อขยาย
จากปัจจัยต่างๆ ที่ใช้ทดสอบ ได้กำหนดพื้นที่ระดับการสึกกร่อน ตั้งแต่ C1 ถึง C4 (ตามมาตรฐาน EN ISO 9223) ทั้งนี้เพื่อนำผลที่ได้รับนำมาคำนวณหาค่าน้ำหนักของสารเคลือบโลหะ ที่สึกกร่อนหายไป ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้ สามารถนำไปประเมินถึงอายุการใช้งานได้ในลำดับต่อไป (ตามมาตรฐาน EN ISO 9224:1992)


กดที่รูปเพื่อขยาย


กดที่รูปเพื่อขยาย
*อายุการใช้งานขึ้นอยู่กับหลากหลายปัจจัย เช่น ลักษณะสภาพอากาศ และประเภทของการใช้งาน ตลอดจนคุณภาพของสารที่ใช้เคลือบ
จึงทำได้เพียงประเมินอายุการใช้งานได้เท่านั้น
บทความน่ารู้เกี่ยวกับลวดหนาม
- ความเป็นมาของลวดหนาม
- เบอร์ลวดหนามที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
- ลักษณะการพันเกลียวหนามมีกี่รูปแบบ
- การเคลือบสารกันสนิมหรือการชุบซิงค์ มีกี่แบบ และแตกต่างกันอย่างไร
- ความแตกต่างของลวดหนามไวน์แมน และลวดหนามทั่วไป


รั้วลวดหนาม คืออะไร?
รั้วลวดหนามผลิตด้วยลวดพันกับหนาม ลวดหนามเริ่มมีใช้ในยุค 1800 เมื่อเกษตรกร

ลวดหนามที่มากกว่ารั้วลวดหนามทั่วไป “ลวดหนามซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน”
ลวดหนาม ซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน ลวดหนาม ที่มากกว่ารั้วลวดหนามทั่วไปผลิตจากลวดแรงดึงสูง
หากคุณอยากรู้จักลวดหนามให้มากขึ้น เราขอแนะนำให้อ่านบทความด้านล่างนี้ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง
- ความเป็นมาของลวดหนาม
- เบอร์ลวดหนามที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
- ลักษณะการพันเกลียวหนามมีกี่รูปแบบ
- การเคลือบสารกันสนิมหรือการชุบซิงค์ มีกี่แบบ และแตกต่างกันอย่างไร
- ความแตกต่างของลวดหนามไวน์แมน และลวดหนามทั่วไป

ลวดหนามที่มากกว่ารั้วลวดหนามทั่วไป “ลวดหนามซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน”
ลวดหนาม ซิงค์อลูมิเนียมไวน์แมน ลวดหนาม ที่มากกว่ารั้วลวดหนามทั่วไปผลิตจากลวดแรงดึงสูง

รั้วลวดหนาม คืออะไร?
รั้วลวดหนามผลิตด้วยลวดพันกับหนาม ลวดหนามเริ่มมีใช้ในยุค 1800 เมื่อเกษตรกร

ช่องทางการสั่งซื้อ
สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมหรือสั่งซื้อได้ที่